Mathematics for Approximations
ความเข้มข้นของคอร์ส :
ในการสร้าง machine learning เพื่อพยากรณ์ขอมูลต่าง ๆ หรือค้นหาตัวเลือกที่เหมาะสมในการ ทํางานหนึ่ง ๆ นั้น มีแก่นหลักที่สําคัญอย่างหนึ่งคือการประมาณฟังก์ชัน (function approximation) ซึ่งหมายถึงการหาฟังก์ชัน ที่อธิบายความสัมพันธ์ของตัวแปรต่าง ๆ ด้วยข้อมูลที่เรามีโดยแนวคิดนี้ ได้นำไปสู่เรื่องของ neural network เพื่อสร้างฟังก์ชันที่อธิบายความสัมพันธ์ที่ต้องการ ในปัจจุบนั เราเห็นได้ทั่วไปว่ามันทํางานได้อย่างดีแต่เมื่อเราวิเคราะห์ให้ลึกลงไปแล้ว จะเห็นว่ายังมีคำถามต่าง ๆ ที่น่าสนใจ เช่น
- เราใช้หลักการใดเพื่อสื่อถึงความใกล้เคียง (หรือประสทธิภาพ) ของการประมาณ
- เรามั่นใจได้อย่างไรว่าเครื่องมือที่มีอยู่จะพาเราไปถึงฟังก์ชันที่เหมาะสมได้เสมอ
- เราจะพัฒนาเครื่องมือต่อไปอย่างไร และมีข้อจํากัดอะไรบ้างที่ต้องคํานึง
ในคอร์สนี้จะนําผู้เรียนไปทําความเข้าใจทฤษฎีขั้นสู งทางคณิตศาสตร์เพื่อวิเคราะห์เครื่องมือต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประมาณฟังก์ชัน เพื่อให้เกิดแนวคิดเชิงลึกทสามารถมองเห็นข้อดีข้อจํากัด และแนวทางการพัฒนาเครื่องมือในการประมาณฟังก์ชันได้
เรื่องราวที่น่าสนใจในคอร์ส:
- เครื่องมือต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการประมาณฟังก์ชัน
Taylor Series / Fourier Series / Radial Basis Function
- ทฤษฎีขั้นสูงทางคณิตศาสตร
- Linear Algebra เพื่อการวิเคราะห์เชิงพีชคณิตของฟังก์ชัน
- Topology เพื่อการวิเคราะห์ระยะห่างของฟังก์ชันต่างๆ รวมถึงรูปร่างของข้อมูล
สิ่งที่ได้จากคอร์สนี้:
เข้าใจเครื่องมือทางคณิตศาสตร์ขั้นสูง และนําไปสู่การเข้าใจประสทธิภาพและข้อจํากัดของการประมาณ ฟังก์ชันต่าง ๆ รวมถึงสามารถสร้าง machine learning แบบใหม่ได้
ความตั้งใจของเรา:
TAUTOLOGY เรามุ่งมั่นที่จะสร้าง Expert ไม่ว่าจะเป็นด้าน AI, Programming หรือ Mathematics ดังนั้นเราอยากให้ผู้สมัครทุกคน ตั้งเป้าว่าต้องการที่จะเป็น Expert และร่วมกันสร้างคอร์สที่มีบรรยากาศการเรียนที่คึกคัก มีไฟที่ลุกโชนตลอดช่วงเวลาการเรียนการสอน และเราเองก็สัญญาว่า “จะทุ่มเททั้งหมดที่เรามี เพื่อสร้างคุณให้เป็น Expert ให้ได้”
รับรองเลยว่าถ้าคุณจบหลักสูตรคุณจะเป็นหนึ่งใน Expert ด้าน AI อย่างเเน่นอน !
Course Agenda
**มี Exercises และ Discussions ในทุก ๆ บท
สิ่งที่นักเรียนควรรู้มาก่อน
– เมทริกซ์
– แคลคูลัส
Instructor
อาจารย์ณัฐพล สนพะเนาว์ | นักวิชาการอิสระ
Course Features
- Lectures 53
- Quizzes 0
- Duration 10 weeks
- Skill level All levels
- Students 30
- Assessments Yes
-
Document
-
Part 1
- Math Chapter 1-1 เกริ่นนำภาพรวมวิชา
- Math Chapter 1-2 ฟังก์ชันที่สื่อโดย Neural Network
- Math Chapter 1-3 สัจพจน์ของ vector space
- Math Chapter 1-4 เข้าใจคำว่า span
- Math Chapter 1-5 เข้าใจคำว่า linearly independent
- Math Chapter 1-6 การตรวจสอบ linearly independent ด้วย matrix
- Math Chapter 1-7 ทำความรู้จักเบื้องต้นกับ vector space of functions
- Math Chapter 1-8 radial kernel และตัวอย่างต่าง ๆ
- Math Chapter 1-9 เข้าใจลักษณะและนิยามของ radial basis functions RBF
- Math Chapter 1-10 ตัวอย่างการทำ Interpolation ด้วย RBF
- Math Chapter 1-11 Activity 1
- Math Chapter 1-12 Activity 2
-
Part 2
- Math Chapter 2-1 เกริ่นนำ and Fact เบื้องต้น
- Math Chapter 2-2 สัจพจน์ของ inner product และนิยามของ norm
- Math Chapter 2-3 ตัวอย่าง Euclidean space R^n
- Math Chapter 2-4 สมบัติเบื้องต้น และสมบัติใน R^2 และ R^3
- Math Chapter 2-5 สมบัติของ norm และ Cauchy-Schwarz Inequality (Theorem 2)
- Math Chapter 2-6 นิยามของ orthogonal และ orthonormal
- Math Chapter 2-7 ถ้า orthogonal แล้วจะได้ linearly independent (Theorem 4)
- Math Chapter 2-8 ตัวอย่าง + ภาพประกอบ + ทำความเข้าใจเพิ่มเติม
- Math Chapter 2-9 การแยกองค์ประกอบเวกเตอร์ (Theorem 5 + Corollary 6)
- Math Chapter 2-10 การหา projection (Theorem เสริมนอกชีท + Theorem 7)
- Math Chapter 2-11 ทำแบบฝึกหัดข้อ 3. และ 4.
- Math Chapter 2-12 inner product ของ functions
- Math Chapter 2-13 orthogonal set ที่สำคัญ (ที่นำไปสู่ Fourier series)
- Math Chapter 2-14 หา projection ด้วย Theorem 7 ได้ผลลัพธ์ออกมาเป็น Fourier series (Definition 9-11)
- Math Chapter 2-15 Activity I + II
-
Part 3
- Math Chapter 3-1 เกริ่นนำ/ supremum & infimum
- Math Chapter 3-2 นิยามลิมิตของลำดับ
- Math Chapter 3-3 นิยามลิมิตของอนุกรมอนันต์
- Math Chapter 3-4 นิยามฟังก์ชันต่อเนื่องและ intermediate value theorem
- Math Chapter 3-5 metric spaces พร้อมตัวอย่าง metric แบบต่าง ๆ
- Math Chapter 3-6 นิยามลิมิตและความต่อเนื่องใน metric space
- Math Chapter 3-7 open sets และ closed sets
- Math Chapter 3-8 limit points และ closure
- Math Chapter 3-9 density (อธิบายละเอียดพร้อมตัวอย่าง)
- Math Chapter 3-10 แนะนำ topology เล็กน้อย
- Math Chapter 3-11 เฉลยแบบฝึกหัด 3.(b) และอธิบายเพิ่มเติม
- Math Chapter 3-12 compact sets และสมบัติที่น่าสนใจ
- Math Chapter 3-13 Activity I
- Math Chapter 3-14 Activity II
-
Part 4
- Math Chapter 4-1 การลู่เข้าแบบรายจุด (pointwise convergence)
- Math Chapter 4-2 การลู่เข้าแบบสม่ำเสมอ (uniform convergence)
- Math Chapter 4-3 normed linear space
- Math Chapter 4-4 supremum norm
- Math Chapter 4-5 B(X) and C(X) spaces
- Math Chapter 4-6 Weierstrass theorem
- Math Chapter 4-7 Universal Approximation Theorem (Part 1)
- Math Chapter 4-8 ตอบคำถามเกี่ยวกับ activation function
- Math Chapter 4-9 Exercise 1.(a)
- Math Chapter 4-10 Riemann & Lebesgue integrationUniversal Approximation Theorem (Part 2)
- Math Chapter 4-11 ตอบคำถามตอนท้าย